ประวัติรถ Lamborghini
ประวัติ
Ferruccio Lamborghini เกิดในตระกูลชาวนา เขาได้มีความสนใจในด้านเครื่องยนต์เป็นพิเศษ ดัดแปลงเครื่องจักรกลที่ใช้ในไร่นา จนพ่อเห็นถึงความพยายามของลูกชายจึงส่งไปเรียนวิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมจักรกล หลังจากที่เรียนจบไม่นานก็เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง เขารับใช้ชาติทำงานให้กับฐานทัพอากาศอิตาลี หลังสงครามสิ้นสุด เขาได้เดินทางกลับมายังบ้านเกิด และเริ่มต้นซ่อมแซมรถแทรกเตอร์ของอิตาลี ที่ใช้อะไหล่จากยวดยานของทหาร และนี่เองคือจุดเริ่มต้นในการตั้งโรงงานแทรกเตอร์ในชื่อว่า Lamborghini Trattori S.p.A. ที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ กลายเป็นบริษัทผลิตรถแทร็กเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี และยังเป็นเจ้าของกิจการเครื่องปรับอากาศอีกด้วย
Lamborghini เริ่มมีฐานะมั่งคั่งและยังคงไม่ลืมความฝันในวัยเด็กของเขา จึงเริ่มซื้อ Alfa Romeo, Maserati, Jaguar, Aston Martin, Corvette และ Ferrari รถยนต์เหล่านี้กำเนิดขึ้นในยุค 1950-1960 มีเครื่องยนต์ที่ให้แรงม้ามากกว่ารถทั่วไปและควบคุมได้ยาก เขามักจะควบ Ferrari 250GT วนเล่นรอบโรงงานของเขา และรู้สึกว่าเจ้าม้าลำพองนี้ยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ทั้งหมดทั้งในเรื่องการควบคุมและส่วนของการให้บริการ จึงขับพุ่งตรงเพื่อไปพบกับ Enzo Ferrari ด้วยตัวเอง และเปิดใจในเรื่องที่เขารู้สึกย่ำแย่ที่มีต่อรถ Ferrari แต่ได้ถูก Enzo Ferrari ตอกกลับว่า Lamborghini เป็นเพียงแค่คนบ้านนอกที่ไม่มีความรู้อะไรเลยในเรื่องที่เกี่ยวกับรถสปอร์ต ต่างกับเขาที่มีอยู่เต็มในสายเลือด
ด้วยแรงฮึด Lamborghini จึงอยากสร้างรถของตัวเองให้ดีกว่ารถ Ferrari ภายใต้ชื่อ Automobili Lamborghini ถือกำเนิดขึ้นในช่วงปี 1962 ซึ่งโรงงานห่างจาก Ferrari เพียงแค่ 15 กม. เท่านั้น ต่อจากนั้นค่ายรถยนต์เจ้าของสัญลักษณ์กระทิงเปลี่ยวก็ได้สร้างปรากฏการณ์ใหม่ของวงการรถสปอร์ตในยุโรป ให้ได้ตื่นตะลึงกับรูปแบบของตัวรถ Lamborghini และเทคโนโลยีของเครื่องยนต์ การวางตำแหน่งเครื่อง และการบังคับควบคุมที่วิศวกรและนักขับทดสอบของบริษัทร่วมกันคิดค้นและพัตนา จนเสร็จสมบูรณ์เป็น Lamborghini 350 GTV
ประวัติ
Ferruccio Lamborghini เกิดในตระกูลชาวนา เขาได้มีความสนใจในด้านเครื่องยนต์เป็นพิเศษ ดัดแปลงเครื่องจักรกลที่ใช้ในไร่นา จนพ่อเห็นถึงความพยายามของลูกชายจึงส่งไปเรียนวิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมจักรกล หลังจากที่เรียนจบไม่นานก็เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง เขารับใช้ชาติทำงานให้กับฐานทัพอากาศอิตาลี หลังสงครามสิ้นสุด เขาได้เดินทางกลับมายังบ้านเกิด และเริ่มต้นซ่อมแซมรถแทรกเตอร์ของอิตาลี ที่ใช้อะไหล่จากยวดยานของทหาร และนี่เองคือจุดเริ่มต้นในการตั้งโรงงานแทรกเตอร์ในชื่อว่า Lamborghini Trattori S.p.A. ที่ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ กลายเป็นบริษัทผลิตรถแทร็กเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี และยังเป็นเจ้าของกิจการเครื่องปรับอากาศอีกด้วย
Lamborghini เริ่มมีฐานะมั่งคั่งและยังคงไม่ลืมความฝันในวัยเด็กของเขา จึงเริ่มซื้อ Alfa Romeo, Maserati, Jaguar, Aston Martin, Corvette และ Ferrari รถยนต์เหล่านี้กำเนิดขึ้นในยุค 1950-1960 มีเครื่องยนต์ที่ให้แรงม้ามากกว่ารถทั่วไปและควบคุมได้ยาก เขามักจะควบ Ferrari 250GT วนเล่นรอบโรงงานของเขา และรู้สึกว่าเจ้าม้าลำพองนี้ยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ทั้งหมดทั้งในเรื่องการควบคุมและส่วนของการให้บริการ จึงขับพุ่งตรงเพื่อไปพบกับ Enzo Ferrari ด้วยตัวเอง และเปิดใจในเรื่องที่เขารู้สึกย่ำแย่ที่มีต่อรถ Ferrari แต่ได้ถูก Enzo Ferrari ตอกกลับว่า Lamborghini เป็นเพียงแค่คนบ้านนอกที่ไม่มีความรู้อะไรเลยในเรื่องที่เกี่ยวกับรถสปอร์ต ต่างกับเขาที่มีอยู่เต็มในสายเลือด
ด้วยแรงฮึด Lamborghini จึงอยากสร้างรถของตัวเองให้ดีกว่ารถ Ferrari ภายใต้ชื่อ Automobili Lamborghini ถือกำเนิดขึ้นในช่วงปี 1962 ซึ่งโรงงานห่างจาก Ferrari เพียงแค่ 15 กม. เท่านั้น ต่อจากนั้นค่ายรถยนต์เจ้าของสัญลักษณ์กระทิงเปลี่ยวก็ได้สร้างปรากฏการณ์ใหม่ของวงการรถสปอร์ตในยุโรป ให้ได้ตื่นตะลึงกับรูปแบบของตัวรถ Lamborghini และเทคโนโลยีของเครื่องยนต์ การวางตำแหน่งเครื่อง และการบังคับควบคุมที่วิศวกรและนักขับทดสอบของบริษัทร่วมกันคิดค้นและพัตนา จนเสร็จสมบูรณ์เป็น Lamborghini 350 GTV
รถรุ่นสำคัญ: ลัมโบร์กินี 350 จีที (1963) ลัมโบร์กินี 400 จีที (1966) ลัมโบร์กินี มิอูรา (1967) ลัมโบร์กินี เอสปาดา (1968) ลัมโบร์กินี ไอส์เบโร (1968) ลัมโบร์กินี ฮารามา (1970) ลัมโบร์กินี อีร์ราโก (1971) ลัมโบร์กินี คูนทาช (1974) ลัมโบร์กินี คูนทาช เอส (1978) ลัมโบร์กินี จัลปา (1982) ลัมโบร์กินี คูนทาช 500 ควาตโดรวาลโวเล (1985) ลัมโบร์กินี คูนทาช ทเวนติ-ฟิฟธ์ แอนนีเวอร์ซารี (1988) ลัมโบร์กินี ดิอาบโล (1990) ลัมโบร์กินี ดิอาบโล (LAMBORGHINE DIABLO) cradit http://www.chuansin.com/doctorcar/auto-history-lamborghini.html แถมให้อีกนิดละกันครับ Lamborghini 350 GT |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น